หน่วยที่ 4 การปรับแต่งข้อความ
การพิมพ์ข้อความ
การพิมพ์ข้อความ เป็นการแสดงรายละเอียดที่ต้องการถ่ายทอดให้กับผู้ชมงานนำเสนอได้ทราบข้อมูลที่ต้องการสื่อสารให้รับรู้ โดยการถ่ายทอดเป็นตัวหนังสือ
การพิมพ์ข้อความลงในสไลด์
การพิมพ์ข้อความลงในสไลด์สามารถทำได้หลายวิธีทั้งแบบการใช้กรอบ เค้าโครง กล่องข้อความ และข้อความศิลป์
การสร้างข้อความด้วยกรอบเค้าโครง
เมื่อสร้างสไลด์ใหม่ขึ้นมาโดยใช้ เค้าโครงภาพนิ่ง ก็จะมีองค์ประกอบ ที่เป็นส่วนของกรอบข้อความในลักษณะปลอบเขาล่างซึ่งมีไว้สำหรับเพิ่ม ข้อความลงในสไลด์โดยมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้ 1. คลิกเมาส์ในกรอบเค้าร่าง 2. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
1. การสร้างข้อความด้วยกล่องข้อความ
3. เลือกตำแหน่งที่ต้องการว่าง พิมพ์ข้อความที่ต้องการหากต้องการเพิ่มข้อความในพื้นที่บริเวณส่วนอื่นของสไลด์ นอกบริเวณกรอบเค้าโครง หรือสไลด์เปล่าที่ไม่มีกรอบเค้าโครง สามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกเมาส์ที่แท็บ แทรก (Insert) 2. เลือกปุ่มคำสั่ง กล่องข้อความ (Text Box)
การสร้างข้อความด้วยอักษรศิลป์
4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการอักษรศิลป์ คือรูปแบบของ ตัวอักษรที่ออกแบบมาเพื่อให้มีความสวยงามโดยโปรแกรม Microsoft PowerPoint สามารถเพิ่ม อักษรศิลป์ ลงในสไลด์ได้ดังนี้ 1. คลิกที่แท็บ แทรก (insert) 2. เลือกปุ่มคำสั่ง อักษรศิลป์ (Word Art) 3. เลือกรูปแบบอักษรที่ต้องการ
1. การใส่ลักษณะพิเศษให้กับอักษรศิลป์
4. เลือกรูปแบบที่ต้องการสามารถเพิ่มลักษณะพิเศษให้กับอักษรศิลป์ที่สร้างขึ้นได้ โดยทำตาม ขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกข้อความที่ต้องการเพื่อลักษณะพิเศษ 2. เลือกแท็บคำสั่งรูปแบบ (Format) 3. คลิกที่ปุ่มคำสั่ง A เพิ่มลักษณะพิเศษข้อความ (Text Effects) 5. เลือกรายละเอียดย่อยของรูปแบบที่ต้องการ 6. จะแสดงข้อความที่เพิ่มลักษณะพิเศษที่ได้ทำการเลือกเอาไว้
2. การแก้ไขข้อความอักษรศิลป์
2. พิมพ์ข้อความที่ต้องการใส่ลงไปหากมาตรวจดูแล้วนะพบว่า ข้อความในอักษรศิลป์ที่ได้เพิ่มเข้ามานั้นผิด สามารถแก้ไขข้อความได้อย่างง่าย ๆ โดยไม่ต้องเสียเวลาสร้างใหม่ โดยสามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกเมาส์ที่ข้อความอักษรศิลป์ ให้เกิดเคอร์เซอร์ขึ้นมา
3. การเปลี่ยนรูปแบบอักษรศิลป์อยากรวดเร็ว
3. เลือกรูปแบบที่ต้องการนอกจากปุ่มเพิ่มลักษณะพิเศษข้อความแล้วยังสามารถ เพิ่มลักษณะพิเศษ ให้กับข้อความได้อย่างรวดเร็วโดยทำตามขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกข้อความที่ต้องการเพิ่มพิเศษ 2. คลิกที่ปุ่มคำสั่งลักษณะด่วน (Word Art Quick Styles) 4. แสดงข้อความที่เพิ่มลักษณะพิเศษ
การทำงานกับกรอบข้อความ
ส่วนใหญ่ข้อความที่เห็นอยู่ในโปรแกรม PowerPoint มักจะอยู่ในกรอบ สี่เหลี่ยมหรือ กรอบข้อความ ซึ่งกรอบข้อความเหล่านี้สามารถทำการปรับ แต่งได้ เช่น ย้าย คัดลอก หรือปรับขนาดได้ตามที่ต้องการ 1. การเลือกข้อความ หากต้องการย้าย คัดลอก หรือกำหนดลักษณะพิเศษให้ข้อความ สิ่งแรกที่ต้องทำนั่นก็คือ การเลือกข้อความ ซึ่งสามารถทำได้หลายรูปแบบดังนี้
2. การคัดลอกข้อความ
3. เลือกตำแหน่งที่ตั้งการวาง หากต้องการสำเนาข้อความที่อยู่ในสไลด์หนึ่ง สามารถทำได้ง่าย ๆ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. เลือกข้อความที่ต้องการ 2. คลิกเมาส์เลือกคำสั่ง คัดลอก (Copy) 4. คลิกเมาส์เลือกคำสั่งตัวเลือกการวาง (Paste)
3. การย้ายข้อความ
3. เลือกตำแหน่งที่ต้องการวางข้อความ 4. คลิกเมาส์ขวาเลือกคำสั่งวาง (Paste)หากต้องการย้ายข้อความที่พิมพ์ไว้ไปยังตำแหน่งใหม่สามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกเลือกข้อความที่ต้องการย้าย 2. คลิกเมาส์ขวาเลือกคำสั่งตัด (Cut)
การกำหนดรูปแบบให้กับข้อความ
3. เลือกรูปแบบที่ต้องการ สามารถปรับแต่งข้อความภายในสไลด์ให้น่าสนใจและสวยงามขึ้นได้ เช่น ทำการเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร เปลี่ยนขนาดตัวอักษร เปลี่ยนสีตัวอักษร เป็นต้น 1. การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร สไลด์ที่ต้องการนำเสนอนั้น หากไม่เป็นทางการมากนัก สามารถเลือก ใช้รูปแบบที่ดูทันสมัยและไม่เป็นทางการ ก็สามารถใช้ฟอนต์รูปแบบอื่นได้ ซึ่งมีรูปแบบให้เลือกมากมายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งถ้าเป็น ข้อความภาษาไทยก็ควรที่จะเลือกฟอนต์ที่ลงท้ายด้วย New หรือ UPC แต่ถ้าเป็นข้อความภาษาอังกฤษก็สามารถเลือกได้ทันที ซึ่งมีขั้นตอนในการ ปฏิบัติดังนี้ 1. คลิกเลือกข้อความที่ต้องการเป็นรูปแบบ 2. คลิกเลือกแบบอักษร (Format Font) 4. ผลลัพธ์รูปแบบข้อความที่เปลี่ยนไป
2. การเป็นขนาดตัวอักษร
3. เลือกขนาดที่ต้องการ 1. คลิกเลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนขนาด 2. คลิกขนาดตัวอักษร (Font Size) 4. ผลลัพธ์ที่เปลี่ยนไป
3. การกำหนดตัวเอียง ตัวหนา และขีดเส้นใต้
หากต้องการให้ข้อความของเราน่าสนใจมากยิ่งขึ้นสามารถกำหนด ข้อความของเราให้เป็นตัวเอียง ตัวหนาและขีดเส้นใต้ได้ดังต่อไปนี้ 1. คลิกเลือกข้อความ 2. คลิกเลือกรูปที่ต้องการ
4. การจัดตำแหน่งข้อความ
3. เลือกตำแหน่งจัดข้อความกึ่งกลาง1. คลิกเลือกข้อความที่ต้องการจัดตำแหน่ง 2. เลือกตำแหน่งการวางที่ต้องการ 4. ข้อความที่ถูกจัดตำแหน่งใหม่ |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น